จำนวนการดูหน้าเว็บรวม

วันเสาร์ที่ 5 มีนาคม พ.ศ. 2554

ประโยคชน์ของผักสีม่ว

เราทราบกันดีอยู่แล้วว่าการรับประทานผักและผลไม้ดีต่อสุขภาพอย่างมาก เพราะนอกจากจะมีทั้งวิตามินและเกลือแร่ ซึ่งมีส่วนสำคัญช่วยเสริมสร้างความแข็งแรงให้กับร่างกายแล้ว ในผักแต่ละชนิดยังมีสีสันที่แตกต่างกันไปชวนให้ยิ่งน่ารับประทานมากขึ้น ซึ่งสีสันสดใสไม่ว่าจะเป็นแดง เขียว ส้ม ม่วงเหล่านี้นี่แหละคือสารอาหารสำคัญในการสร้างภูมิต้านทานโรคภัยไข้เจ็บอีกด้วย ส่วนแต่ละสีจะให้คุณค่าทางอาหารต่อผู้บริโภคอย่างเราๆอย่างไร มาดูกันเลยดีกว่า


โดยตามงานวิจัยของ มาร์ ฟาร์กัวสัน ผู้สนใจทางเคมีวิทยาของพืชได้แยกประโยชน์ของสารสีในผักและผลไม้ไว้ดังนี้


สารสีแดง - ไลโคปีน เป็นเม็ดสีที่ให้สารสีแดงในผัก-ผลไม้จำพวกแตงโม มะเขือเทศ ในขณะที่สารเบต้า-แคโรทีน ให้สีแดงในลูกทับทิม บีทรูทและแคนเบอร์รี่ สารทั้ง 2 ชนิดเป็นสารต้านอนุมูลอิสระหรือแอนตี้อ๊อกซิเดนท์ ที่ทราบกันดีว่าสามารถป้องกันการเกิดโรคมะเร็งในหลายชนิด มะเขือเทศที่สุกแล้วจะให้ไลโคปีนสูงกว่ามะเขือเทศดิบ และการรับประทานไขมันเล็กน้อย อย่างเช่นน้ำมันมะกอก จะช่วยให้ร่างกายดูดซึมไลโคปีนได้ดียิ่งขึ้น

สารสีส้ม - ผักและผลไม้ในสีส้มเช่น มะละกอ แครอท มีสารเบต้า-แคโรทีน ซึ่งมีศักยภาพในการต้านอนุมูลอิสระ อันเป็นตัวการก่อให้กิดโรคมะเร็ง กระทรวงเกษตรฯของสหรัฐอเมริกาเผยว่า การรับประทานแครอทวันละ 2-3 หัว จะช่วยลดระดับคอเรสเตอรอลในเลือด ส่วนคนที่มีผิวขาวซีด เมื่อทานมะละกอหรือแครอทเป็นประจำ ผิวจะมีสีเหลืองนวลสวยงาม อีกทั้งการทานมะละกอห่ามเป็นเวลา 2 ปี จะช่วยลดการเกิดฝ้าบนใบหน้าให้จางลงได้ โดยที่ไม่ต้องซื้อครีมทาฝ้าให้สิ้นเปลือง


สารสีเหลือง - ลูเทียน คือสารสีเหลืองที่ให้สีสันแก่ข้าวโพด ช่วยป้องกันความเสื่อมของจุดสี หรือแสงสีของเรติน่าดวงตา ซึ่งเป็นสาเหตุหนึ่งที่ทำให้ผู้สูงอายุมองไม่เห็น

สารสีเขียว - คลอโรฟิลล์ เป็นสารที่ให้สีเขียวในผักต่างๆที่มีสีเขียวเข้มมากๆ เช่น ตำลึง คะน้า บลอคโคลี่ ชะพลู บัวบกเป็นต้น ผักยิ่งมีสีเขียวมากก็จะมีคลอโรฟิลล์มาก โดยนักวิทยาศาสตร์พบว่า เมื่อคลอโรฟิลล์ถูกย่อยแล้ว จะมีพลังในการป้องกันมะเร็งมากขึ้น ทั้งยังช่วยขจัดกลิ่นเหม็นต่างๆในตัวคน ซึ่งคุณภาพดีกว่าน้ำหอมที่เราใช้อยู่อีกต่างหาก


สารสีม่วง - สารแอนโทไซยานิน เป็นสารที่อยู่ในพืชสีม่วงเช่น ดอกอัญชัน มะเขือม่วง แบล็คเบอร์รี่ บลูเบอร์รี่ นักวิทยาศาสตร์พบว่าคุณสมบัติของแอนโทไซยานิน จะช่วยยับยั้งการเกิดมะเร็งและยังออกฤทธิ์ในการขยายเส้นเลือด ช่วยลดความเสี่ยงในการเป็นโรคหัวใจและโรคอัมพาต

สารพัดประโยชน์อย่างนี้นี่เอง ที่มักจะมีคำแนะนำว่าคนเราควรรับประทานอาหารให้ครบ 5 หมู่และหลากหลายสีสันเข้าไว้ เพราะต่างสีต่างชนิดกันคุณค่าทางอาหารย่อมไม่เหมือนกัน ยิ่งทานหลากสีสันมากก็เท่ากับได้รับสารอาหารที่เป็นภูมิต้านทานโรคเพิ่มมากขึ้น
เราทราบกันดีอยู่แล้วว่าการรับประทานผักและผลไม้ดีต่อสุขภาพอย่างมาก เพราะนอกจากจะมีทั้งวิตามินและเกลือแร่ ซึ่งมีส่วนสำคัญช่วยเสริมสร้างความแข็งแรงให้กับร่างกายแล้ว ในผักแต่ละชนิดยังมีสีสันที่แตกต่างกันไปชวนให้ยิ่งน่ารับประทานมากขึ้น ซึ่งสีสันสดใสไม่ว่าจะเป็นแดง เขียว ส้ม ม่วงเหล่านี้นี่แหละคือสารอาหารสำคัญในการสร้างภูมิต้านทานโรคภัยไข้เจ็บอีกด้วย ส่วนแต่ละสีจะให้คุณค่าทางอาหารต่อผู้บริโภคอย่างเราๆอย่างไร มาดูกันเลยดีกว่า


โดยตามงานวิจัยของ มาร์ ฟาร์กัวสัน ผู้สนใจทางเคมีวิทยาของพืชได้แยกประโยชน์ของสารสีในผักและผลไม้ไว้ดังนี้


สารสีแดง - ไลโคปีน เป็นเม็ดสีที่ให้สารสีแดงในผัก-ผลไม้จำพวกแตงโม มะเขือเทศ ในขณะที่สารเบต้า-แคโรทีน ให้สีแดงในลูกทับทิม บีทรูทและแคนเบอร์รี่ สารทั้ง 2 ชนิดเป็นสารต้านอนุมูลอิสระหรือแอนตี้อ๊อกซิเดนท์ ที่ทราบกันดีว่าสามารถป้องกันการเกิดโรคมะเร็งในหลายชนิด มะเขือเทศที่สุกแล้วจะให้ไลโคปีนสูงกว่ามะเขือเทศดิบ และการรับประทานไขมันเล็กน้อย อย่างเช่นน้ำมันมะกอก จะช่วยให้ร่างกายดูดซึมไลโคปีนได้ดียิ่งขึ้น

สารสีส้ม - ผักและผลไม้ในสีส้มเช่น มะละกอ แครอท มีสารเบต้า-แคโรทีน ซึ่งมีศักยภาพในการต้านอนุมูลอิสระ อันเป็นตัวการก่อให้กิดโรคมะเร็ง กระทรวงเกษตรฯของสหรัฐอเมริกาเผยว่า การรับประทานแครอทวันละ 2-3 หัว จะช่วยลดระดับคอเรสเตอรอลในเลือด ส่วนคนที่มีผิวขาวซีด เมื่อทานมะละกอหรือแครอทเป็นประจำ ผิวจะมีสีเหลืองนวลสวยงาม อีกทั้งการทานมะละกอห่ามเป็นเวลา 2 ปี จะช่วยลดการเกิดฝ้าบนใบหน้าให้จางลงได้ โดยที่ไม่ต้องซื้อครีมทาฝ้าให้สิ้นเปลือง


สารสีเหลือง - ลูเทียน คือสารสีเหลืองที่ให้สีสันแก่ข้าวโพด ช่วยป้องกันความเสื่อมของจุดสี หรือแสงสีของเรติน่าดวงตา ซึ่งเป็นสาเหตุหนึ่งที่ทำให้ผู้สูงอายุมองไม่เห็น

สารสีเขียว - คลอโรฟิลล์ เป็นสารที่ให้สีเขียวในผักต่างๆที่มีสีเขียวเข้มมากๆ เช่น ตำลึง คะน้า บลอคโคลี่ ชะพลู บัวบกเป็นต้น ผักยิ่งมีสีเขียวมากก็จะมีคลอโรฟิลล์มาก โดยนักวิทยาศาสตร์พบว่า เมื่อคลอโรฟิลล์ถูกย่อยแล้ว จะมีพลังในการป้องกันมะเร็งมากขึ้น ทั้งยังช่วยขจัดกลิ่นเหม็นต่างๆในตัวคน ซึ่งคุณภาพดีกว่าน้ำหอมที่เราใช้อยู่อีกต่างหาก


สารสีม่วง - สารแอนโทไซยานิน เป็นสารที่อยู่ในพืชสีม่วงเช่น ดอกอัญชัน มะเขือม่วง แบล็คเบอร์รี่ บลูเบอร์รี่ นักวิทยาศาสตร์พบว่าคุณสมบัติของแอนโทไซยานิน จะช่วยยับยั้งการเกิดมะเร็งและยังออกฤทธิ์ในการขยายเส้นเลือด ช่วยลดความเสี่ยงในการเป็นโรคหัวใจและโรคอัมพาต

สารพัดประโยชน์อย่างนี้นี่เอง ที่มักจะมีคำแนะนำว่าคนเราควรรับประทานอาหารให้ครบ 5 หมู่และหลากหลายสีสันเข้าไว้ เพราะต่างสีต่างชนิดกันคุณค่าทางอาหารย่อมไม่เหมือนกัน ยิ่งทานหลากสีสันมากก็เท่ากับได้รับสารอาหารที่เป็นภูมิต้านทานโรคเพิ่มมากขึ้น
เราทราบกันดีอยู่แล้วว่าการรับประทานผักและผลไม้ดีต่อสุขภาพอย่างมาก เพราะนอกจากจะมีทั้งวิตามินและเกลือแร่ ซึ่งมีส่วนสำคัญช่วยเสริมสร้างความแข็งแรงให้กับร่างกายแล้ว ในผักแต่ละชนิดยังมีสีสันที่แตกต่างกันไปชวนให้ยิ่งน่ารับประทานมากขึ้น ซึ่งสีสันสดใสไม่ว่าจะเป็นแดง เขียว ส้ม ม่วงเหล่านี้นี่แหละคือสารอาหารสำคัญในการสร้างภูมิต้านทานโรคภัยไข้เจ็บอีกด้วย ส่วนแต่ละสีจะให้คุณค่าทางอาหารต่อผู้บริโภคอย่างเราๆอย่างไร มาดูกันเลยดีกว่า


โดยตามงานวิจัยของ มาร์ ฟาร์กัวสัน ผู้สนใจทางเคมีวิทยาของพืชได้แยกประโยชน์ของสารสีในผักและผลไม้ไว้ดังนี้


สารสีแดง - ไลโคปีน เป็นเม็ดสีที่ให้สารสีแดงในผัก-ผลไม้จำพวกแตงโม มะเขือเทศ ในขณะที่สารเบต้า-แคโรทีน ให้สีแดงในลูกทับทิม บีทรูทและแคนเบอร์รี่ สารทั้ง 2 ชนิดเป็นสารต้านอนุมูลอิสระหรือแอนตี้อ๊อกซิเดนท์ ที่ทราบกันดีว่าสามารถป้องกันการเกิดโรคมะเร็งในหลายชนิด มะเขือเทศที่สุกแล้วจะให้ไลโคปีนสูงกว่ามะเขือเทศดิบ และการรับประทานไขมันเล็กน้อย อย่างเช่นน้ำมันมะกอก จะช่วยให้ร่างกายดูดซึมไลโคปีนได้ดียิ่งขึ้น

สารสีส้ม - ผักและผลไม้ในสีส้มเช่น มะละกอ แครอท มีสารเบต้า-แคโรทีน ซึ่งมีศักยภาพในการต้านอนุมูลอิสระ อันเป็นตัวการก่อให้กิดโรคมะเร็ง กระทรวงเกษตรฯของสหรัฐอเมริกาเผยว่า การรับประทานแครอทวันละ 2-3 หัว จะช่วยลดระดับคอเรสเตอรอลในเลือด ส่วนคนที่มีผิวขาวซีด เมื่อทานมะละกอหรือแครอทเป็นประจำ ผิวจะมีสีเหลืองนวลสวยงาม อีกทั้งการทานมะละกอห่ามเป็นเวลา 2 ปี จะช่วยลดการเกิดฝ้าบนใบหน้าให้จางลงได้ โดยที่ไม่ต้องซื้อครีมทาฝ้าให้สิ้นเปลือง


สารสีเหลือง - ลูเทียน คือสารสีเหลืองที่ให้สีสันแก่ข้าวโพด ช่วยป้องกันความเสื่อมของจุดสี หรือแสงสีของเรติน่าดวงตา ซึ่งเป็นสาเหตุหนึ่งที่ทำให้ผู้สูงอายุมองไม่เห็น

สารสีเขียว - คลอโรฟิลล์ เป็นสารที่ให้สีเขียวในผักต่างๆที่มีสีเขียวเข้มมากๆ เช่น ตำลึง คะน้า บลอคโคลี่ ชะพลู บัวบกเป็นต้น ผักยิ่งมีสีเขียวมากก็จะมีคลอโรฟิลล์มาก โดยนักวิทยาศาสตร์พบว่า เมื่อคลอโรฟิลล์ถูกย่อยแล้ว จะมีพลังในการป้องกันมะเร็งมากขึ้น ทั้งยังช่วยขจัดกลิ่นเหม็นต่างๆในตัวคน ซึ่งคุณภาพดีกว่าน้ำหอมที่เราใช้อยู่อีกต่างหาก


สารสีม่วง - สารแอนโทไซยานิน เป็นสารที่อยู่ในพืชสีม่วงเช่น ดอกอัญชัน มะเขือม่วง แบล็คเบอร์รี่ บลูเบอร์รี่ นักวิทยาศาสตร์พบว่าคุณสมบัติของแอนโทไซยานิน จะช่วยยับยั้งการเกิดมะเร็งและยังออกฤทธิ์ในการขยายเส้นเลือด ช่วยลดความเสี่ยงในการเป็นโรคหัวใจและโรคอัมพาต

สารพัดประโยชน์อย่างนี้นี่เอง ที่มักจะมีคำแนะนำว่าคนเราควรรับประทานอาหารให้ครบ 5 หมู่และหลากหลายสีสันเข้าไว้ เพราะต่างสีต่างชนิดกันคุณค่าทางอาหารย่อมไม่เหมือนกัน ยิ่งทานหลากสีสันมากก็เท่ากับได้รับสารอาหารที่เป็นภูมิต้านทานโรคเพิ่มมากขึ้น เราทราบกันดีอยู่แล้วว่าการรับประทานผักและผลไม้ดีต่อสุขภาพอย่างมาก เพราะนอกจากจะมีทั้งวิตามินและเกลือแร่ ซึ่งมีส่วนสำคัญช่วยเสริมสร้างความแข็งแรงให้กับร่างกายแล้ว ในผักแต่ละชนิดยังมีสีสันที่แตกต่างกันไปชวนให้ยิ่งน่ารับประทานมากขึ้น ซึ่งสีสันสดใสไม่ว่าจะเป็นแดง เขียว ส้ม ม่วงเหล่านี้นี่แหละคือสารอาหารสำคัญในการสร้างภูมิต้านทานโรคภัยไข้เจ็บอีกด้วย ส่วนแต่ละสีจะให้คุณค่าทางอาหารต่อผู้บริโภคอย่างเราๆอย่างไร มาดูกันเลยดีกว่า


โดยตามงานวิจัยของ มาร์ ฟาร์กัวสัน ผู้สนใจทางเคมีวิทยาของพืชได้แยกประโยชน์ของสารสีในผักและผลไม้ไว้ดังนี้


สารสีแดง - ไลโคปีน เป็นเม็ดสีที่ให้สารสีแดงในผัก-ผลไม้จำพวกแตงโม มะเขือเทศ ในขณะที่สารเบต้า-แคโรทีน ให้สีแดงในลูกทับทิม บีทรูทและแคนเบอร์รี่ สารทั้ง 2 ชนิดเป็นสารต้านอนุมูลอิสระหรือแอนตี้อ๊อกซิเดนท์ ที่ทราบกันดีว่าสามารถป้องกันการเกิดโรคมะเร็งในหลายชนิด มะเขือเทศที่สุกแล้วจะให้ไลโคปีนสูงกว่ามะเขือเทศดิบ และการรับประทานไขมันเล็กน้อย อย่างเช่นน้ำมันมะกอก จะช่วยให้ร่างกายดูดซึมไลโคปีนได้ดียิ่งขึ้น

สารสีส้ม - ผักและผลไม้ในสีส้มเช่น มะละกอ แครอท มีสารเบต้า-แคโรทีน ซึ่งมีศักยภาพในการต้านอนุมูลอิสระ อันเป็นตัวการก่อให้กิดโรคมะเร็ง กระทรวงเกษตรฯของสหรัฐอเมริกาเผยว่า การรับประทานแครอทวันละ 2-3 หัว จะช่วยลดระดับคอเรสเตอรอลในเลือด ส่วนคนที่มีผิวขาวซีด เมื่อทานมะละกอหรือแครอทเป็นประจำ ผิวจะมีสีเหลืองนวลสวยงาม อีกทั้งการทานมะละกอห่ามเป็นเวลา 2 ปี จะช่วยลดการเกิดฝ้าบนใบหน้าให้จางลงได้ โดยที่ไม่ต้องซื้อครีมทาฝ้าให้สิ้นเปลือง


สารสีเหลือง - ลูเทียน คือสารสีเหลืองที่ให้สีสันแก่ข้าวโพด ช่วยป้องกันความเสื่อมของจุดสี หรือแสงสีของเรติน่าดวงตา ซึ่งเป็นสาเหตุหนึ่งที่ทำให้ผู้สูงอายุมองไม่เห็น

สารสีเขียว - คลอโรฟิลล์ เป็นสารที่ให้สีเขียวในผักต่างๆที่มีสีเขียวเข้มมากๆ เช่น ตำลึง คะน้า บลอคโคลี่ ชะพลู บัวบกเป็นต้น ผักยิ่งมีสีเขียวมากก็จะมีคลอโรฟิลล์มาก โดยนักวิทยาศาสตร์พบว่า เมื่อคลอโรฟิลล์ถูกย่อยแล้ว จะมีพลังในการป้องกันมะเร็งมากขึ้น ทั้งยังช่วยขจัดกลิ่นเหม็นต่างๆในตัวคน ซึ่งคุณภาพดีกว่าน้ำหอมที่เราใช้อยู่อีกต่างหาก


สารสีม่วง - สารแอนโทไซยานิน เป็นสารที่อยู่ในพืชสีม่วงเช่น ดอกอัญชัน มะเขือม่วง แบล็คเบอร์รี่ บลูเบอร์รี่ นักวิทยาศาสตร์พบว่าคุณสมบัติของแอนโทไซยานิน จะช่วยยับยั้งการเกิดมะเร็งและยังออกฤทธิ์ในการขยายเส้นเลือด ช่วยลดความเสี่ยงในการเป็นโรคหัวใจและโรคอัมพาต

สารพัดประโยชน์อย่างนี้นี่เอง ที่มักจะมีคำแนะนำว่าคนเราควรรับประทานอาหารให้ครบ 5 หมู่และหลากหลายสีสันเข้าไว้ เพราะต่างสีต่างชนิดกันคุณค่าทางอาหารย่อมไม่เหมือนกัน ยิ่งทานหลากสีสันมากก็เท่ากับได้รับสารอาหารที่เป็นภูมิต้านทานโรคเพิ่มมากขึ้น
เราทราบกันดีอยู่แล้วว่าการรับประทานผักและผลไม้ดีต่อสุขภาพอย่างมาก เพราะนอกจากจะมีทั้งวิตามินและเกลือแร่ ซึ่งมีส่วนสำคัญช่วยเสริมสร้างความแข็งแรงให้กับร่างกายแล้ว ในผักแต่ละชนิดยังมีสีสันที่แตกต่างกันไปชวนให้ยิ่งน่ารับประทานมากขึ้น ซึ่งสีสันสดใสไม่ว่าจะเป็นแดง เขียว ส้ม ม่วงเหล่านี้นี่แหละคือสารอาหารสำคัญในการสร้างภูมิต้านทานโรคภัยไข้เจ็บอีกด้วย ส่วนแต่ละสีจะให้คุณค่าทางอาหารต่อผู้บริโภคอย่างเราๆอย่างไร มาดูกันเลยดีกว่า


โดยตามงานวิจัยของ มาร์ ฟาร์กัวสัน ผู้สนใจทางเคมีวิทยาของพืชได้แยกประโยชน์ของสารสีในผักและผลไม้ไว้ดังนี้


สารสีแดง - ไลโคปีน เป็นเม็ดสีที่ให้สารสีแดงในผัก-ผลไม้จำพวกแตงโม มะเขือเทศ ในขณะที่สารเบต้า-แคโรทีน ให้สีแดงในลูกทับทิม บีทรูทและแคนเบอร์รี่ สารทั้ง 2 ชนิดเป็นสารต้านอนุมูลอิสระหรือแอนตี้อ๊อกซิเดนท์ ที่ทราบกันดีว่าสามารถป้องกันการเกิดโรคมะเร็งในหลายชนิด มะเขือเทศที่สุกแล้วจะให้ไลโคปีนสูงกว่ามะเขือเทศดิบ และการรับประทานไขมันเล็กน้อย อย่างเช่นน้ำมันมะกอก จะช่วยให้ร่างกายดูดซึมไลโคปีนได้ดียิ่งขึ้น

สารสีส้ม - ผักและผลไม้ในสีส้มเช่น มะละกอ แครอท มีสารเบต้า-แคโรทีน ซึ่งมีศักยภาพในการต้านอนุมูลอิสระ อันเป็นตัวการก่อให้กิดโรคมะเร็ง กระทรวงเกษตรฯของสหรัฐอเมริกาเผยว่า การรับประทานแครอทวันละ 2-3 หัว จะช่วยลดระดับคอเรสเตอรอลในเลือด ส่วนคนที่มีผิวขาวซีด เมื่อทานมะละกอหรือแครอทเป็นประจำ ผิวจะมีสีเหลืองนวลสวยงาม อีกทั้งการทานมะละกอห่ามเป็นเวลา 2 ปี จะช่วยลดการเกิดฝ้าบนใบหน้าให้จางลงได้ โดยที่ไม่ต้องซื้อครีมทาฝ้าให้สิ้นเปลือง


สารสีเหลือง - ลูเทียน คือสารสีเหลืองที่ให้สีสันแก่ข้าวโพด ช่วยป้องกันความเสื่อมของจุดสี หรือแสงสีของเรติน่าดวงตา ซึ่งเป็นสาเหตุหนึ่งที่ทำให้ผู้สูงอายุมองไม่เห็น

สารสีเขียว - คลอโรฟิลล์ เป็นสารที่ให้สีเขียวในผักต่างๆที่มีสีเขียวเข้มมากๆ เช่น ตำลึง คะน้า บลอคโคลี่ ชะพลู บัวบกเป็นต้น ผักยิ่งมีสีเขียวมากก็จะมีคลอโรฟิลล์มาก โดยนักวิทยาศาสตร์พบว่า เมื่อคลอโรฟิลล์ถูกย่อยแล้ว จะมีพลังในการป้องกันมะเร็งมากขึ้น ทั้งยังช่วยขจัดกลิ่นเหม็นต่างๆในตัวคน ซึ่งคุณภาพดีกว่าน้ำหอมที่เราใช้อยู่อีกต่างหาก


สารสีม่วง - สารแอนโทไซยานิน เป็นสารที่อยู่ในพืชสีม่วงเช่น ดอกอัญชัน มะเขือม่วง แบล็คเบอร์รี่ บลูเบอร์รี่ นักวิทยาศาสตร์พบว่าคุณสมบัติของแอนโทไซยานิน จะช่วยยับยั้งการเกิดมะเร็งและยังออกฤทธิ์ในการขยายเส้นเลือด ช่วยลดความเสี่ยงในการเป็นโรคหัวใจและโรคอัมพาต

สารพัดประโยชน์อย่างนี้นี่เอง ที่มักจะมีคำแนะนำว่าคนเราควรรับประทานอาหารให้ครบ 5 หมู่และหลากหลายสีสันเข้าไว้ เพราะต่างสีต่างชนิดกันคุณค่าทางอาหารย่อมไม่เหมือนกัน ยิ่งทานหลากสีสันมากก็เท่ากับได้รับสารอาหารที่เป็นภูมิต้านทานโรคเพิ่มมากขึ้น


เราทราบกันดีอยู่แล้วว่าการรับประทานผักและผลไม้ดีต่อสุขภาพอย่างมาก เพราะนอกจากจะมีทั้งวิตามินและเกลือแร่ ซึ่งมีส่วนสำคัญช่วยเสริมสร้างความแข็งแรงให้กับร่างกายแล้ว ในผักแต่ละชนิดยังมีสีสันที่แตกต่างกันไปชวนให้ยิ่งน่ารับประทานมากขึ้น ซึ่งสีสันสดใสไม่ว่าจะเป็นแดง เขียว ส้ม ม่วงเหล่านี้นี่แหละคือสารอาหารสำคัญในการสร้างภูมิต้านทานโรคภัยไข้เจ็บอีกด้วย ส่วนแต่ละสีจะให้คุณค่าทางอาหารต่อผู้บริโภคอย่างเราๆอย่างไร มาดูกันเลยดีกว่า

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น